วันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2557


            คือการเกิดความเข้าใจแจ่มแจ้งจนตระหนักในคุณค่าของวรรณคดีเรื่องหนึ่งๆ ว่าเป็นงานศิลปะที่ถึงพร้อมเพียงใด มีข้อดีเด่นอย่างไร มีข้อด้อยอย่างไร  มีข้อคิดที่สัมพันธ์กับชีวิตจริงเพียงใด เป็นต้น ความตระหนักดังกล่าวย่อมนำไปสู่ความซาบซึ้งในคุณค่าทำให้เกิดความหวงแหน อยากจะรักษาไว้ให้ดำรงเป็นสมบัติของชาติต่อไปส่วนการวิจารณ์วรรณคดี ซึ่งมีอยู่หลายระดับ  อ่านเพิ่มเติม

    คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ยึดมั่นในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม  อ่านเพิ่มเติม

      อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ  แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของชาวชวา  เอกสารที่เกี่ยวข้องมีดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
นิทานเวตาลตอนที่10
๑) เวตาล  เป็นชื่อตัวละครตัวเอกของเรื่อง นิทานเวตาลมีหลายเรื่อง
๒)  ผู้แปล  พระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ (น.ม.ส.)พระนามเดิม พระองค์
เจ้ารัชนี  แจ่มจรัสนามแฝง น.ม.ส. นำมาจากพยัญชนะตัวสุดท้ายของชื่อ และนามสกุล

๓)  ลักษณะการแต่ง  ร้อยแก้วประเภทนิทาน  มีคำประพันธ์แทรกบ้างบางตอน  อ่านเพิ่มเติม

     นิราศนรินทร์เรื่องนิราศนรินทร์นี้ นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) แต่งขึ้นเมื่อคราวตามเสด็จสมเด็จพระบวร ราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์เสด็จยกกองทัพหลวงไปปราบพม่าซึ่งยกลงมาตีเมืองถลางและเมืองชุมพร เมื่อต้นรัชกาลที่ 2 ในพ.ศ. 2352 เป็นบทประพันธ์โคลงสี่สุภาพ 144 บท บทแรกเป็นร่ายสุภาพ อ่านเพิ่มเติม

      บทความเรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี มีที่มาจากหนังสือรวบรวมบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง มณีพลอยร้อยแสง ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดฯให้จัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2533 ในวโรกาสที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ โดย นิสิตคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    เมื่อ พ.ศ. 2466 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่6 ทรงนำมงคลสูตรมาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทร้อยกรองประเกทคำฉันท์ โดยใช้คำประพันธ์2 ชนิด คือกาพย์ฉบัง16 และอินทรวิเชียรฉันท์11 ทรงนำคาถาภาษาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้ง อ่านเพิมเติม